เกษตรกรไทยจะไม่เป็นง่อยถ้า.....
บทความที่แล้วผมเขียนถึงเรื่องเกี่ยวกับเกษตรกร
แต่ด้วยเนื้อที่จำกัดเลยต้องขอมาต่อยอดในบทความนี้ การส่งเสริมของรัฐควรจะทำทั้งในรูปแบบ Horizontal
และ Vertical กล่าวคือ
1) Horizontal รัฐโดยเฉพาะกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ควรจะตั้งหน่วยงานหนึ่งซึ่งอาจจะเป็นกรมที่จะดูแลพืชผลทางการเกษตรทุกชนิด
และตั้งเป็นกองที่จะมาดูแลพืชผลเหล่านี้ในแต่ละชนิด พีชผลที่มีมูลค่าต่อ GDP
มากก็เป็นกอง ที่ดูแลเฉพาะพืชผลนั้นๆ เช่น กองข้าว กองยางพารา
กองปาล์ม กองน้ำตาล เป็นต้น ส่วนพืชผลที่มีมูลค่าน้อยๆ
ก็อาจจะนำมารวมกันเป็นกองไม่กี่กอง ดูแลเป็นประเภทไปเลย เช่น กองผลไม้ กองผักสด
เป็นต้น แล้วกองเหล่านี้เป็นผู้ใหญ่ที่มีหน้าที่และความรับผิดชอบในทุกๆ
ด้านที่เกี่ยวข้องกับพืชผลเหล่านี้ โดยดึงทีมงานบางส่วนจากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาพัฒนาพันธุ์พืชให้มีคุณภาพมากขึ้น มีความหลากหลายมากขึ้น
ถ้าท่านสังเกตให้ดีจะพบว่าปัจจุบัน เรามีข้าวหลากหลายพันธุ์มากขึ้น เช่น ข้าวสีนิล
, ข้าวลืมผัว , ข้าวดอย ฯลฯ ซึ่งข้าวเหล่านี้ขายได้ราคาดีกว่าข้าวสารธรรมดา
เช่นข้าวสีนิล ราคาตามซุปเปอร์มาร์เก็ตตกกิโลละร้อยกว่าบาท ในขณะที่ข้าวสารธรรมดา
ตกกิโลละประมาณ 40 บาท เท่านั้นเอง
เห็นไหมครับแทนที่รัฐจะมาคอยพยุงราคาข้าว
เพียงแต่รัฐลงทุนทำการวิจัยและนำเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพดี
แจกจ่ายให้เกษตรกรอย่างทั่วถึงและเพียงพอ และเสริมความรู้ในการทำเกษตรกรรมให้มีผลผลิตที่มีคุณภาพและได้ปริมาณผลผลิต/ไร่ สูงขึ้น
การประท้วงของชาวนาเพื่อให้รัฐพยุงราคาข้าวไม่ว่าจะเป็นการรับจำนำข้าวหรือประกันราคาข้าว
ก็จะหมดไป และตัดปัญหาคอร์รัปชั่นที่ทำให้รัฐสูญเสียงบประมาณซึ่งเป็นเงินจากภาษีอากรของคนไทยทั้งประเทศ
ยิ่งปัจจุบันรัฐบาลต้องการนำเงินไปลงทุนทางด้าน Logistics และโครงการป้องกันน้ำท่วม
รวมกันแล้วเกือบ 2.5 ล้านล้านบาท
เมื่อข้าวมีคุณภาพดี
ผู้บริโภคก็ยอมจ่ายในราคาที่สูงขึ้น แม้จะแพงเกินเท่าตัวตามตัวอย่างข้างต้น
การส่งออกข้าวเราก็สามารถฉีกต้วเองออกจากเวียดนาม อินเดีย ที่เน้นขายข้าวที่มีคุณภาพต่ำ
อันที่จริงรัฐบาลเวียดนามและอินเดียนี่ก็ใจแคบ น่าจะส่งช่อดอกไม้มาขอบคุณรัฐบาลไทย
ที่ทำให้ปีที่แล้วทั้ง 2 ประเทศขายข้าวดีเป็นเทน้ำเทท่า
จากนโยบายรับจำนำข้าวของรัฐบาลเรา
2) Vertical รัฐควรส่งเสริมให้เอกชนไทยนำพืชผลการเกษตรมาแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าให้สูงขึ้นผมขอยกตัวอย่างเอกชนที่นำน้ำมันรำข้าวมาแปรรูปเป็นอาหารเสริม
ซึ่งทำให้เกิดมูลค่าเพิ่มได้สูงมาก หรือการนำเปลือกมังคุดที่เป็นสิ่งที่ไม่เคยถูกใช้มาก่อน
นำมาแปรรูปเป็นเครื่องสำอาง และอาหารเสริมหรือกระทั่งข้าวกล้อง
ก็มีคนนำมาอบกรอบทำเป็น Snack บรรจุซองขาย เป็นต้น
ธุรกิจเหล่านี้ทางกรมและกองที่ผมกล่าวถึงในข้อที่ 1 ควรจะเป็น
One Stop Service ช่วยดูแลและส่งเสริม
โดยอาจจะมีเจ้าหน้าที่ของ BOI มาประจำ
สามารถที่จะออกใบอนุญาต BOI ได้โดยตรงเลย และดึงเจ้าหน้าที่ Exim
Bank และ SME Bank มาประจำอยู่ที่กรมเพื่อจะพิจารณาอนุมัติสินเชื่อให้กับธุรกิจเหล่านี้
เมื่อเขาต้องการขยายกิจการและ/หรือ ต้องการที่จะส่งออก
โดยควรจะมีเจ้าหน้าที่ของกระทรวงพาณิชย์ที่คอยช่วยหาตลาดให้กับธุรกิจเหล่านี้
และหมั่นจัดงานแฟร์สินค้าที่แปรรูปจากพืชผลทางเกษตร ในประเทศต่างๆ บ่อยๆ แล้วคัดเลือกธุรกิจที่มีสินค้าดังกล่าวที่น่าสนใจไปร่วมงาน
นอกจากส่งเสริม Downstream แล้ว Upstream รัฐก็ควรจะใส่ใจมากขึ้น
โดยเฉพาะปุ๋ยซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเกษตรกร
ส่งเสริมให้ธุรกิจไทยผลิตปุ๋ยได้ในราคาที่ถูกเพราะว่าปุ๋ยเป็นต้นทุนสำคัญของเกษตรกรเลยทีเดียว
เม็ดเงินที่รัฐบาลจะใช้ในการส่งเสริมทั้งในรูปแบบ Horizontal และ Vertical ดังที่ผมได้กล่าวมาแล้ว จะใช้เงินงบประมาณน้อยกว่าเงินที่รัฐจะต้องนำไปใช้เพื่อรับจำนำข้าวมากเลยทีเดียว
เงินงบประมาณที่ประหยัดได้ ก็สามารถนำไปใช้ในการพัฒนา Logistics เผลอๆ พรบ. 2 ล้านล้านบาท
อาจไม่จำเป็นเลยก็ได้เพราะว่าเม็ดเงินจากงบประมาณแผ่นดินรายปีอาจจะมีเพียงพอ
ก่อนจบบทความขอพูดถึง SET
INDEX เสียหน่อย ผมมองว่าตลาดตอนนี้อยู่ในบริเวณแนวด้านระยะสั้นคือ SET
INDEX สามารถปรับตัวลงได้ทุกเมื่อ รอบนี้ SET น่าจะวิ่งได้ไม่เกิน
1,460 บวกลบแต่เมื่อ SET INDEX มีการปรับตัวลงเมื่อไหร่ให้ทยอยรับแล้วถือยาวไปจนถึงปีหน้าเลย
และรอบนี้การปรับตัวลงจะไม่รุนแรงเพราะว่าแรงซื้อขนาดใหญ่ของต่างชาติช่วงนี้ค่อนข้างจะมาก
กิติชัย เตชะงามเลิศ
17/9/56
หนังสือ "จาก 1 ล้านเป็น 500 ล้าน ผมทำอย่างไร" ยอดขายขื้นอันดับหนื่งตั้งแต่วันแรกจำหน่ายและครองอันดับ 1 ติดต่อกันมานาน
ติดตามแนวทางการลงทุนของผมได้ที่
Facebook : https://www.facebook.com/VI.Kitichai
Twitter : http://twitter.com/value_talk
Youtube : http://www.youtube.com/user/wittayu9
Blog : http://kitichai1.blogspot.com
หรือหนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์ทุกวันพุธหน้า B6 หรือหน้า B10 และนิตยสารคนรวยหุัน, Condo Guide, Stock Review, Me(Market Evolution), Glow และ Lisa ทุกเดือน
สนใจซื้ออสังหาเพื่ออยู่เองหรือเพื่อการลงทุน ลองเข้า http://www.pantipmarket.com/mall/homeproperty
ขาย คอนโด วิช สามย่าน เดิน
2 นาที จาก รถไฟใต้ดิน สถานี สามย่าน ราคาต่ำกว่าโครงการสุด ๆ 2
ห้อง(ชั้น19) ราคา 4.2 ล้าน
โครงการนี้มี
25 ชั้น
มีจำนวนห้องทั้งหมด ประมาณ 500 ยูนิต, ถนนสี่พระยา บางรัก ห่างจาก สถานี รถไฟใต้ดิน สามย่าน ประมาณ 100 เมตร ใกล้
อาคารจามจุรีสแควร์ ตลาดสามย่าน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เตรียมอุดมศึกษา สาธิตจุฬา
อาคารชาญอิสระ โรงพยาบาลจุฬาฯ สวนลุมพินี ฯลฯ
มีสวนลอยฟ้า สระว่ายน้ำพร้อมสระเด็ก
และห้องออกกำลังกาย ที่ชั้น 19
การเดินทางโดยทางด่วน
ขึ้นลง
ทางด่วนสามย่าน –
หัวลำโพง
ขึ้นลง
ทางด่วนเชื้อเพลิง –
พระรามสี่
ขึ้นลง
ทางด่วนสุรวงศ์ –
สีลม
การเดินทางโดยรถประจำทาง สายที่ผ่าน คือ 1
, 16 ,36 , 45 , 75, 93 และ 187
ห้องที่จะขายอยู่ชั้น
19
1.ห้อง 18/112 ชั้น
19 พื้นที่ 36.51 ตรม. ราคา 4,200,000 บาท ชั้นนี้ มีสวนลอยฟ้า ให้เช่าห้อง 22,000 บาท/เดือน
2.ห้อง 18/113 ชั้น
19 พื้นที่ 36.51 ตรม. ราคา 4,200,000 บาท ชั้นนี้ มีสวนลอยฟ้า ให้เช่าห้อง 22,000 บาท/เดือน
โปรโมชั่นพิเศษ เข้าอยู่ได้เลย ฟรีค่าใช้จ่ายทุกรายการ
พร้อมของแถมเพียบ
- ฟรีเงินกองทุนคอนโด
มูลค่าเกือบ 20,000 บาท
-
ฟรีเงินค่าส่วนกลางล่วงหน้าถึง 31 ธค. 56 มูลค่าเกือบ 20,000 บาท
- ฟรีเงินค่ามิเตอร์น้ำ/ไฟ
มูลค่า 3,250 บาท
พิเศษสุด!!!
สำหรับท่านผู้สนใจที่ตัดสินใจภายในวันที่ 31/1/56 แถมเครื่องใช้ไฟฟ้า 3 ชิ้น ได้แก่ โทรทัศน์ Samsung smart
TV จอ L.E.D. 3มิติรุ่นล่าสุด 40 นิ้ว 1 เครื่อง เครื่องทำน้ำอุ่น 1 เครื่อง ไมโครเวฟ 1 เครื่อง มูลค่าเกือบ 40,000 บาท
หมายเหตุ ทุกห้องของผมวิวดี ไม่มีตึกบัง
สาเหตุที่ท่านควรจะซื้อคอนโดวิช@สามย่าน
1. ที่ดินย่านนี้ส่วนใหญ่จะเป็นที่เซ้ง
แต่ของโครงการวิช@สามย่าน
เป็นที่ซื้อขาด เพราะฉะนั้น ท่านจะได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินที่ตั้งคอนโดนี้
2.
สำนักงานใหญ่ของดีแทคย้ายมาที่อาคารจามจุรีสแควร์ทั้งหมด
(อาคารจามจุรีสแควร์เป็นที่เซ้ง ของจุฬาฯ)
3. อาคารพาณิชย์บริเวณตลาดสดสามย่านเก่า
ทางจุฬาฯ ได้ทยอยทุบทิ้ง เพื่อจะพัฒนาปรับปรุงเป็นคอมเพล็กซ์
ซึ่งจะทำให้บริเวณสามย่านนี้มีความเจริญมากขึ้น**
4. มีลูกค้าแน่นอนคือ ผู้ปกครองของนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดม สาธิตจุฬาและนิสิตจุฬา
รวมทั้งข้าราชการและครูอาจารย์
5.
ศูนย์ข้าราชการ กทม. บางส่วนจะย้ายมาอยู่ที่บริเวณถนนบรรทัดทอง
ซึ่งอยู่ใกล้กับสามย่านมาก****
6.การขยายครอบครัวของคนเยาวราช
7.
โครงการสวนลุมไนท์บาซ่าร์ ที่เซ็นทรัลประมูลได้คาดว่าจะเริ่มพัฒนาโครงการในปี 2556
8.ห่างจากสถานีรถไฟใต้ดินสามย่านเพียงแค่เดิน
3 นาที และเดิน 10 นาทีก็ถึงสวนลุมแล้ว
9. ทาง
กทม. กับรัฐบาลชุดปัจจุบันมีโครงการที่จะทำรถไฟฟ้าโมโนเรลล์ จากสยาม – มาบุญครอง ผ่านหน้าบริเวณมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์
ไปถึงบริเวณสามย่านแล้ว อ้อมไปถึงถนน อังรีดูนังค์
10.
ความต้องการที่พักอาศัยในย่านนี้จะมีมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น คนทำงานย่านสีลม สุรวงค์
ซึ่งบริเวณนี้แทบไม่มีโครงการใหม่เกิดขึ้น
****กทม.จับมือจุฬาฯ พัฒนาที่ดินสามย่าน ผุดสวนสาธารณะ 10 ไร่ ในพื้นที่ พร้อมศึกษาสร้างระบบเชื่อมรถไฟฟ้าสายสีลม ถ.พระราม 1 และรถไฟฟ้าใต้ดิน ถ.พระราม 4
นายธีระชน มโนมัยพิบูลย์ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.) เปิดเผยว่า สัปดาห์ที่ผ่านมา สำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้หารือร่วมกับ กทม.ในการพัฒนาพื้นที่บริเวณสามย่าน จำนวน 350 ไร่ หลังจากหมดสัญญากับบรรดาร้านอะไหล่รถยนต์หรือเซียงกงแล้ว โดยเบื้องต้นได้มีการตั้งคณะทำงานร่วมกัน ระหว่างสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ และ กทม.เพื่อร่วมกำหนดแผนในการปรับปรุงพื้นที่ร่วมกันตามแผนแม่บทระหว่างภาครัฐ กับเอกชน
ทั้งนี้ ทางจุฬาฯ มีนโยบายที่จะมอบพื้นที่บางส่วนเพื่อให้ กทม.ร่วมใช้ประโยชน์ โดย กทม.จะใช้พื้นที่ 5 ไร่ที่อยู่ระหว่างถนนบรรทัดทองและซอยจุฬาฯ 5 ในการสร้างศูนย์ราชการของเขตปทุมวัน แบ่งเป็น สำนักงานเขต ศูนย์อนามัย สถานีดับเพลิง และศูนย์เยาวชน และในพื้นที่ว่างบริเวณซอยจุฬาฯ 5 จำนวน 10 ไร่ จะทำการสร้างสวนสาธารณะเพื่อเป็นการปรับปรุงภูมิทัศน์ที่ดีขึ้น
นาย ธีระชน กล่าวว่า นอกจากนี้สำนักการโยธา(สนย.) จะมีการขยายถนนในพื้นที่ 2 เส้น คือ ถนนบรรทัดทอง จากเดิมกว้าง 16 เมตร จะขยายเป็น 30 เมตร และซอยจุฬาฯ 5 เดิมกว้าง 15 เมตรให้เป็น 20 เมตร เพื่ออำนวยความสะดวกในการเดินทาง ระหว่างถนนพระราม 1 กับพระราม 4 ซึ่งในส่วนของการก่อสร้างที่เกี่ยวข้องกับ กทม.ทั้งหมด กทม.จะลงทุนก่อสร้างเอง ขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณาว่าจะใช้งบประมาณเท่าไหร่ นอกจากนี้ ในส่วนของการอำนวยความสะดวกในการใช้พื้นที่นั้น จุฬาฯ ได้มีนโยบายให้ กทม.สามารถเข้ามาใช้ประโยชน์ในพื้นที่หน้า ฮาร์ดร็อค คาเฟ่ และลานหน้าจามจุรี สแควร์ ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ
นายธีระชน มโนมัยพิบูลย์ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.) เปิดเผยว่า สัปดาห์ที่ผ่านมา สำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้หารือร่วมกับ กทม.ในการพัฒนาพื้นที่บริเวณสามย่าน จำนวน 350 ไร่ หลังจากหมดสัญญากับบรรดาร้านอะไหล่รถยนต์หรือเซียงกงแล้ว โดยเบื้องต้นได้มีการตั้งคณะทำงานร่วมกัน ระหว่างสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ และ กทม.เพื่อร่วมกำหนดแผนในการปรับปรุงพื้นที่ร่วมกันตามแผนแม่บทระหว่างภาครัฐ กับเอกชน
ทั้งนี้ ทางจุฬาฯ มีนโยบายที่จะมอบพื้นที่บางส่วนเพื่อให้ กทม.ร่วมใช้ประโยชน์ โดย กทม.จะใช้พื้นที่ 5 ไร่ที่อยู่ระหว่างถนนบรรทัดทองและซอยจุฬาฯ 5 ในการสร้างศูนย์ราชการของเขตปทุมวัน แบ่งเป็น สำนักงานเขต ศูนย์อนามัย สถานีดับเพลิง และศูนย์เยาวชน และในพื้นที่ว่างบริเวณซอยจุฬาฯ 5 จำนวน 10 ไร่ จะทำการสร้างสวนสาธารณะเพื่อเป็นการปรับปรุงภูมิทัศน์ที่ดีขึ้น
นาย ธีระชน กล่าวว่า นอกจากนี้สำนักการโยธา(สนย.) จะมีการขยายถนนในพื้นที่ 2 เส้น คือ ถนนบรรทัดทอง จากเดิมกว้าง 16 เมตร จะขยายเป็น 30 เมตร และซอยจุฬาฯ 5 เดิมกว้าง 15 เมตรให้เป็น 20 เมตร เพื่ออำนวยความสะดวกในการเดินทาง ระหว่างถนนพระราม 1 กับพระราม 4 ซึ่งในส่วนของการก่อสร้างที่เกี่ยวข้องกับ กทม.ทั้งหมด กทม.จะลงทุนก่อสร้างเอง ขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณาว่าจะใช้งบประมาณเท่าไหร่ นอกจากนี้ ในส่วนของการอำนวยความสะดวกในการใช้พื้นที่นั้น จุฬาฯ ได้มีนโยบายให้ กทม.สามารถเข้ามาใช้ประโยชน์ในพื้นที่หน้า ฮาร์ดร็อค คาเฟ่ และลานหน้าจามจุรี สแควร์ ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ
ที่มา : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ (30 สิงหาคม 2552)
กทม.ร่วมมือจุฬาฯ
โครงการโมโนเรล พญาไท ยาว 2.5
กิโลเมตร
มั่นใจผู้ใช้บริการหลักหมื่น จาก 4 สถานศึกษา
นายธีระชน มโนมัยพิบูลย์ รองผูว่าฯ กทม.เปิดเผยว่า หลังจากที่ได้ร่วมกับ รศ.น.อ.นพ.เพิ่มยศ โกศลพันธุ์ รองอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายจัดการทรัพย์สิน และผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น รศ.มานพ พงศทัต รศ.ประพันธ์พงศ์ เวชชาชีวะ ถึงความคืบหน้าการดำเนินโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าโมโนเรล (Monorail) หรือระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยวได้ข้อสรุปเบื้องต้นว่า ที่ ประชุมเห็นพ้องที่จะดำเนินโครงการก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าโมโนเรลนำร่องสายแรกบน ถนนพญาไท ตั้งแต่อาคารจามจุรีสแควร์ ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าใต้ดิน เป็นแนวยาวบนเกาะกลางถนนของถนนพญาไทมาบรรจบกับสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสสยาม สแควร์ รวมระยะทางทั้งสิ้น 2.5 กิโลเมตร มีจำนวน 3 สถานี ได้แก่ สถานี CU1 จามจุรีสแควร์ CU2 เตรียมอุดมศึกษา และ CU3 สยามสแควร์
โดยจะนำต้นแบบจากการศึกษาดูงานจากเซ็นโตซาโมโนเรล ที่ข้ามไปเกาะเซ็นโตซา มีสีโบกี้รถเป็นสีลูกกวาด 5 ตู้ 5 สี โดย กทม.จะนำมาปรับให้เหมาะสมกับพื้นที่ แต่คาดว่าไม่น่าจะมีปัญหา เพราะเส้นทางที่ผ่านเป็นสถานศึกษา
ทั้งนี้ คาดว่าจะใช้งบประมาณในการก่อสร้าง กว่า 2,000 ล้านบาท โดยจะเป็นการของบจากโครงการไทยเข้มแข็ง ซึ่งผู้ว่าฯ กทม.ก็เห็นชอบในเรื่องนี้ และได้มอบหมายให้บริษัทที่ปรึกษาไปหารายละเอียดที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เช่น จำนวนผู้โดยสารที่จะเข้าระบบ ซึ่งตนคิดว่าจะมีไม่ต่ำกว่าหมื่นคน เนื่องจากมีสถานศึกษาหลายแห่ง ทั้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนสาธิตแห่งจุฬาฯ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครรินทรวิโรฒ ปทุมวัน
นายธีระชนกล่าวต่อว่า ในระหว่างนี้ ทางจุฬาฯ ศึกษาดูบริเวณใดเหมาะสมที่จะก่อสร้างเป็นศูนย์ซ่อมบำรุง (Depot) ส่วนเส้นทางถนนบรรทัดทอง และถนนอังรีดูนังต์นั้น คาดว่าจะเป็นเฟสที่ 2 สำหรับการก่อสร้าง
นายธีระชน มโนมัยพิบูลย์ รองผูว่าฯ กทม.เปิดเผยว่า หลังจากที่ได้ร่วมกับ รศ.น.อ.นพ.เพิ่มยศ โกศลพันธุ์ รองอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายจัดการทรัพย์สิน และผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น รศ.มานพ พงศทัต รศ.ประพันธ์พงศ์ เวชชาชีวะ ถึงความคืบหน้าการดำเนินโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าโมโนเรล (Monorail) หรือระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยวได้ข้อสรุปเบื้องต้นว่า ที่ ประชุมเห็นพ้องที่จะดำเนินโครงการก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าโมโนเรลนำร่องสายแรกบน ถนนพญาไท ตั้งแต่อาคารจามจุรีสแควร์ ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าใต้ดิน เป็นแนวยาวบนเกาะกลางถนนของถนนพญาไทมาบรรจบกับสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสสยาม สแควร์ รวมระยะทางทั้งสิ้น 2.5 กิโลเมตร มีจำนวน 3 สถานี ได้แก่ สถานี CU1 จามจุรีสแควร์ CU2 เตรียมอุดมศึกษา และ CU3 สยามสแควร์
โดยจะนำต้นแบบจากการศึกษาดูงานจากเซ็นโตซาโมโนเรล ที่ข้ามไปเกาะเซ็นโตซา มีสีโบกี้รถเป็นสีลูกกวาด 5 ตู้ 5 สี โดย กทม.จะนำมาปรับให้เหมาะสมกับพื้นที่ แต่คาดว่าไม่น่าจะมีปัญหา เพราะเส้นทางที่ผ่านเป็นสถานศึกษา
ทั้งนี้ คาดว่าจะใช้งบประมาณในการก่อสร้าง กว่า 2,000 ล้านบาท โดยจะเป็นการของบจากโครงการไทยเข้มแข็ง ซึ่งผู้ว่าฯ กทม.ก็เห็นชอบในเรื่องนี้ และได้มอบหมายให้บริษัทที่ปรึกษาไปหารายละเอียดที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เช่น จำนวนผู้โดยสารที่จะเข้าระบบ ซึ่งตนคิดว่าจะมีไม่ต่ำกว่าหมื่นคน เนื่องจากมีสถานศึกษาหลายแห่ง ทั้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนสาธิตแห่งจุฬาฯ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครรินทรวิโรฒ ปทุมวัน
นายธีระชนกล่าวต่อว่า ในระหว่างนี้ ทางจุฬาฯ ศึกษาดูบริเวณใดเหมาะสมที่จะก่อสร้างเป็นศูนย์ซ่อมบำรุง (Depot) ส่วนเส้นทางถนนบรรทัดทอง และถนนอังรีดูนังต์นั้น คาดว่าจะเป็นเฟสที่ 2 สำหรับการก่อสร้าง
ที่มา : ASTVผู้จัดการออนไลน์ 7 ธันวาคม 2552
**โครงการจามจุรี สแควร์ 2 ตามที่จุฬาฯ
ศึกษาไว้เดิม ได้วางรูปแบบการพัฒนาโครงการเป็นรูปแบบมิกซ์ยูส (ผสม) ลักษณะเป็นกลุ่มอาคารเชื่อมต่อถึงกัน
มีพื้นที่รวม 1.85-2.2
แสนตารางเมตร ประกอบด้วยพื้นที่โรงแรม
1-1.5 หมื่น
ตารางเมตร ศูนย์การประชุม 1,000-2,000 ตารางเมตร ศูนย์การค้า 2.5-3 หมื่นตารางเมตร
พื้นที่สำนักงาน 4-5.5 หมื่นตารางเมตร พิพิธภัณฑ์ 1,000-3,000 ตารางเมตร เซอร์วิสอพาร์ตเมนต์
1-1.5 หมื่นตารางเมตร
และที่จอดรถอีกประมาณ 1 แสนตารางเมตร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น